หลักสูตรปริญญาตรี
ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) 4 สาขาวิชา ได้แก่
ประธานสาขา : อาจารย์ณรงค์ ไกรเนตร
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์
ชื่อย่อ : ค.บ. (คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Mathematics and Computer
ชื่อย่อ : B.Ed. (Mathematics and Computer)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 168 หน่วยกิต หรือตามที่สาขาวิชากำหนด
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : สร้างสื่อด้วยการพับกระดาษ การจัดค่ายคณิตศาสตร์ ศึกษาดูงานนอกสถานศึกษา ฝึกประสบการณ์สอนนอกสถานศึกษา
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 5 ปี (10 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 110,000 บาทภาคการศึกษาละ 11,000 บาท
ตัวอย่างวิชาเรียน
– หลักการคณิตศาสตร์
– แคลคูลัส 1
– หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
– แคลคูลัส 2
– ทฤษฎีจำนวน
– พีชคณิตเชิงเส้น
– เรขาคณิตเชิงสำรวจ
– โครงสร้างข้อมูล
– การจัดการฐานข้อมูล
– การออกแบบสื่อการเรียนมัลติมิเดีย
– ฯลฯ
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
– สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลายหรือเทียบเท่าแผนวิทย์-คณิต หรือ ศิลป์-คำนวณ
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์
– ชอบคิด วิเคราะห์ มีใจรักในวิชาชีพครู
บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง
เป็นครูสอนในสถานศึกษา เป็นนักวิชาการในหน่วยงานต่าง ๆ ประกอบธุรกิจส่วนตัว
ประธานสาขา : อาจารย์สุทธิดา ทองคำ
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (เคมี)
ชื่อย่อ : ค.บ.
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Chemistry)
ชื่อย่อ : B.Ed. (Chemistry)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อย 170 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : การพัฒนาบุคลิภาพ กิจกรรมพัฒนาความสามาถด้านภาษอังกฤษ และคอมพิวเตอร์ กิจกรรมพัฒนคุณธรรม จริยธรรม อบรมอาชีพเสริม อบรมเสริมทักษะการใช้เครื่องมือ
การจัดการศึกษา : เปิดการสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร: 5 ปี (ไม่น้อยกว่า 10 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 110,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 11,000 บาท)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
สาขาวิชาเคมี (หลักสูตร 5 ปี)
กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 50 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 29 หน่วยกิต
วิชาบังคับเฉพาะสาขาวิชาไม่น้อยกว่า 67 หน่วยกิต
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 14 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 46 หน่วยกิต
– เคมีอนินทรีย์ 1 และปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1
– เคมีอนินทรีย์ 1และปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1
– เคมีอินทรีย์ 2 และปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2
– เคมีเชิงฟิสิกส์ 1
– เคมีเชิงฟิสิกส์ 2
– เคมีวิเคราะห์
– ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์
– ปฏิบัติการชีวเคมี 1
– ปฏิบัติการชีวเคมี 2
– การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2
– ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2
– วิจัยทางเคมี
– เคมีอินทรีย์ 1และปฎิบัติการปฎิบัติการเคมีอินทรีย์ 1
– ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2
– ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1
– ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1
– ชีวเคมี 1
– ชีวเคมี 2
– ปฎิบัติการเคมีวิเคราะห์
– การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1
– ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
– สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาวิชาเคมี
– มีในรักในความเป็นครู มีสุขภาพแข็งแรง ขยัน อดทน ช่างสังเกต
บัณฑิตสาขาวิชาเคมีทำงานอะไรได้บ้าง
ครู / อาจารย์ , นักวิเคราะห์ทั้งหน่วยงานราชการและบริษัทเอกชน นักวิจัย ศึกษาต่อ ประกอบอาชีพอิสระ
ประธานสาขาวิชา : อาจารย์ว่าที่ร้อยโทคงฤทธิ์ ติณะรัตน์
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
ชื่อย่อ : ค.บ.(ชีววิทยา)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Biology)
ชื่อย่อ : B.Ed. (Biology)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 170 หน่วยกิต หรือตามที่สาขาวิชาที่กำหนด
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ผู้ช่วยวิทยากรอบรมความรู้ทางชีววิทยาแก่ครูและนักเรียนศึกษาดูงานนอกสถานที่
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 5 ปี (10 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 110,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 11,000 บาท)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
– กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 53 หน่วยกิต หมวดศึกษาทั่วไปไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเฉพาะสาขา 81 หน่วยกิต
– พฤกษศาสตร์
– สัตววิทยา
– นิเวศวิทยา
– ชีววิทยาของเซลล์
– จุลชีววิทยา
– พันธุศาสตร์
– สรีรวิทยา
– ชีวเคมี
– เคมีวิเคราะห์
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
– สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า สายวิทย์ – คณิต
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาชีววิทยา
– มีใจรักในความเป็นครู มีเมตตากรุณาต่อศิษย์
บัณฑิตสาขาวิชาชีวิทยาทำงานอะไรได้บ้าง
– นักวิชาการ ครู – อาจารย์ อาชีพอิสระ
ประธานสาขาวิชา: อาจารย์สุนันทศักดิ์ ระวังวงศ์
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชื่อย่อ : ค.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Science and Technology)
ชื่อย่อ : B.Ed. (Science and Technology)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 170 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร :
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 5 ปี (10 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 110,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 11,000 บาท)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
– กลุ่มวิชาชีพครูไม่น้อยกว่า 53 หน่วยกิต
– วิชาบังคับ 29 หน่วยกิต
– วิชาบังคับเฉพาะสาขาวิชา 10 หน่วยกิต
ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 14 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเฉพาะสาขา ไม่น้อยกว่า 80 หน่วยกิต
วิชาเอกบังคับเรียน 69 หน่วยกิต
วิชาการสอนวิชาเอก 6 หน่วยกิต
วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต
– ฟิสิกส์ 1
– ปฎิบัติการฟิสิกส์ 1
– ฟิสิกส์ 2
– ปฎิบัติการฟิสิกส์ 2
– เคมี 1
– ปฎิบัติการเคมี 1
– เคมี 2
– ปฏิบัติการเคมี 2
– ชีววิทยา 1
– ปฎิบัติการชีววิทยา 1
– ชีววิทยา 2
– ปฎิบัติการชีววิทยา 2
– แคลคูลัส 1
– แคลคูลัส 2
– สถิติวิเคราะห์
– กลศาสตร์
– แม่เหล็กไฟฟ้า
– คอมพิวเตอร์ประยุกต์สำหรับวิทยาศาสตร์
– อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล
– วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ
– เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
– เคมีอนินทรีย์ 1
– เคมีวิเคราะห์
– ปฏิการเคมีวิเคราะห์
– สิ่งแวดล้อมศึกษา
– การเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
– วิจัยวิทยาศาสตร์
– สัมมนาวิทยาศาสตร์
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
– สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า สนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
– ขยัน อดทน
บัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำอะไรได้บ้าง
เป็นครูสอนวิทยาศาสตร์ , เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ , ประกอบอาชีพส่วนตัวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 2 สาขาวิชาได้แก่
ประธานสาขาวิชา : อาจารย์ณปภา หอมหวล
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและศิลปการประกอบอาหาร
ชื่อย่อ : วท.บ.(วิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ )
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science in Culinary Arts and Technology
ชื่อย่อ : B.Sc. (Culinary Arts and Technology)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ศึกษาดูงาน อบรมอาหารไทย ประกวดโครงการต่าง ๆ
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 176,000 บาท ภาคการศึกษาละ 22,000 บาท
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
– เคมีอาหารพื้นฐาน
– ชีววิทยาพื้นฐาน
– สถิติและระเบียบวิจัยเบื้องต้น
– จุลชีววิทยาการประกอบอาหาร
– ทักษะในการประกอบอาหาร
– วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร
– เทคโนโลยีการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร
– อาหารไทยประยุกต์
– การประกอบอาหารหวานเมืองเพชร
– เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ 1
– อาหารยุโรป
– โภชนาการมนุษย์
– หลัการจัดอาหารและธุรกิจอาหาร
– การจัดการงานบริการอาหาร
– การวางแผนรายการอาหารและคิดต้นทุน
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
– สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย หรือเทียบเท่า
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ
– มีใจรักในงานด้านศิบปการประกอบอาหารและการบริการ มีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี
บัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการทำงานอะไรได้บ้าง
– เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการผลิตและบริการกาหาร
– เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานแผนกอาหารและเครื่องดื่ม และฝ่ายจัดเลี้ยง
– นักพัฒนาตำรับอาหารและรายการอาหาร
– นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
– ผู้ประกอบการด้านการผลิตและการบริการอาหาร
ประธานสาขาวิชา : อาจารย์อารีย์ น้อยสำราญ
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ
ชื่อย่อ : วท.บ.(วิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ )
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Applied Food Science and Services)
ชื่อย่อ : B.Sc. (Applied Food Science and Services)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ศึกษาดูงาน อบรมอาหารไทย ประกวดโครงการต่าง ๆ
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 88,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 11,000 บาท)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
กลุ่มวิชาบังคับ
– เทคโนโลยีการถนอมอาหารและการแปรรูป
– การประกอบอาหารไทย
– โภชนาการมนุษย์
– การผลิตขนมไทย
– อาหารหวานเมืองเพชร
– หลักการประกอบอาหารนานาชาติ
– การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการประเมินคุณภาพโดยประสาทสัมผัส
– หลักการประกอบอาหารท้องถิ่น
– อาหารบำบัดโรค
– การจัดอาหารและการบริการ
– การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาศาสตร์
– อาหารประยุกต์และการบริการ
– สัมมนาวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ
– การวิจัยวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
– สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย หรือเทียบเท่า
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ
– มีใจรักในการบริการ ชอบทำอาหารงานประดิษฐ์สวยงาม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
บัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการทำงานอะไรได้บ้าง
– โรงแรม โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรมด้านอาหาร ครู อาจารย์ การบินไทย อาชีพอิสระ เช่น ร้านอาหาร ร้านดอกไม้