จำนวนผู้ชม : 38
มูลค่าเพิ่มและประโยชน์ต่อชุมชน
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
กิจกรรม | ชุมชนที่บริการวิชาการ | ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน |
1. กิจกรรมทำบุญตักบาตร “วันมาฆบูชา” ในวันพุธ ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2565 | – | เพื่อเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม |
2. การทำขวัญนาเกลือทะเลไทยเพชรบุรี (วันที่ 28 มกราคม 2565) | ณ สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทยเพชรบุรี จำกัด | เพื้อฟื้นฟูพิธีการทำขวัญนาเกลือ ส่งเสริม สนับสนุน การจัดอการองค์ความรู้ ภูมิปัญญาการทำนาเกลือ |
3. กิจกรรมถวายเทียนพรรษา | ชุมชนวัดห้วยเสือ | เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดกิจกรรมแห่เทียนพรรษา เพื่อให้นักศึกษาและชุมชน ที่นับถือพุทธศาสนาเข้าใจและตระหนักถึง วันสำคัญของวันเข้าพรรษาและได้ประพฤติตนอย่างถูกต้องเหมาะสม ตามวิถีของชาวพุทธ เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรมในการประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นพุทธศาสนิกชนชาวพุทธที่ดี |
4. โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ความเป็นไทย และการมีจิตอาสาเพื่อสังคม คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | 1. นักศึกษาตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย เป็นพลเมืองที่ดี 2. นักศึกษามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม มีจิตอาสา |
5. กิจกรรมอบรมปลูกฝังและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต | คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | สามารถปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และสร้างจิตส านึกที่ดีที่ถูกต้องแก่นักศึกษาได้ |
6. งานสืบสานพิธีทำขวัญเกลือ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเกลือทะเลเพื่อการเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ | สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทย เพชรบุรีจำกัด ตำบลบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี | – |
7. กิจกรรมลอยกระทงสไตล์วิศวะ | บุคคลทั่วไป | ได้เผยแพร่ประเพณีและวัฒนธรรมไทยที่มีความสำคัญและมีคุณค่าต่อสังคมผ่านสื่อสังคมสังคมออนไลน์ |
8. กิจกรรมถวายเทียนพรรษา เนื่องในวันเข้าพรรษา วันที่ 25 กรกฎาคม 2564 | วัดธรรมรังษี | ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม ความเป็นไทย |
9. ถวายเทียนพรรษา เนื่องในวันเข้าพรรษา วันที่ 24 กรกฎาคม 2564 | วัดเพรียง | ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม ความเป็นไทย |
10. การขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ของคณะ ที่สอดคล้องบูรณาการกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย | เพชรบุรีเป็นเมืองแห่งศิลปวัฒนธรรมที่เป็นมรดำล้ำค่าทางวัฒนธรรม เป็นการถ่ายทอดฝีมือ รูปแบบ และเนื้อหาจนเป็นลักษณะเฉพาะของสกุลช่างเมืองเพชรทีมีความประณีตศิลป์ มีความงดงามตลอดจนมีลักษณะที่โดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด จึงควรแก่การอนุรักษ์ฟื้นฟู พัฒนา และถ่ายทอดให้คงอยุ่ต่อไป ให้เป็นแหล่งเรียนรู้างวิชาการที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรม | |
11. กิจกรรม สนับสนุนการจัดทำผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีของนักศึกษาเพื่อจดลิขสิทธิ์ | – | – |
12. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรจิตกรรมสร้างสรรค์ | – | – |
13. ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในรูปแบบดิจิทัล | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีและโรงเรียนเครือข่าย | 1. มีสารสนเทศ/องค์ความรู้ด้านศาสตร์พระราชา และผลงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีที่แนวทางตามพระราชดำริสู่การพัฒนาท้องถิ่นตามบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์น้อมนำ 2. มีระบบการจัดการองค์ความรู้ศาสตร์พระราชาในรูปแบบดิจิทัล รองรับการพัฒนาเป็น Digital Museum 3. เป็นแหล่งเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ |
14. ถวายเทียนพรรษา ปีการศึกษา 2564 | วัดมหาธาตุวรวิหาร | 1. นักศึกษามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย 2. นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ในการประพฤติและปฏิบติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี |
15. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 69 พรรษา | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1. นักศึกษาเกิดความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2. นักศึกษาได้เขียนเรียงความและฝึกการใช้ภาษา 3. นักศึกษาได้ กล้าคิด กล้าแสดงออก มีจิตสำนึกและทำงานร่วมกับผู้อื่น |
16. กิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรวันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1. นักศึกษามีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 2. นักศึกษาระลึกถึงพระคุณของบิดา 3. นักศึกษามีจิตสำนึกและแสดงออกถึงความรักชาติ |
17. ราชภัฏสดุดี 14 กุมภา | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1. นักศึกษาสำนักงานในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 2. นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม |
18. การพัฒนาผ้าไหมใยสับปะรดสู่การสร้างลายอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรี | ชุมชนบ้านดอนขุนห้วย ต.ดอนขุนห้วย อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี |
1. ได้ลวดลายผ้าทอผ้าไหมที่เป็นอัตลักษณ์ของบ้านดอนขุนห้วย 2. ได้ผ้าทอผ้าไหมที่มีลวดลายอัตลักษณ์ของบ้านดอนขุนห้วย 4. ได้สีสันและลวดลายให้ผ้าไหมผสมเส้นใยสัปปะรด 3. ได้ผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ(กระเป๋า)จากผ้าไหมทอมือบ้านดอนขุนห้วย |
19.โครงการค้นหาความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์และศิลปะสร้างสรรค์ “ราชภัฏรังสรรค์ศิลป์ เทิดไท้เอกอัครศิลปินมหาภูมิพล” | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี | 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ 2. ได้ให้นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล 3. ได้สนับสนุนให้อาจารย์ / นักศึกษา และบุคลากรได้เรียนรู้ผลงานวิจัยศิลปวัฒนธรรม 4. ได้มาตรฐานในการสร้างเวทีและการสร้างความเป็นเลิศในการประกวดทั้งนาฏศิลป์และศิลปะ |
20. กิจกรรมร่วมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 20 “ข่วงวัฒนธรรมล้ำค่า สืบสานมรดกภูมิปัญญาของแผ่นดิน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ 2. นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล 3. ได้เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มเติม สามารถต่อยอดได้อนาคต |
21.โครงการลานเพลิน ร้อยดี วิถีบ้านลาด “ถนนต้นตาล ลานวัฒนธรรม อำเภอบ้านลาด” | ชุมชนไร่สะท้อน ต.ไร่สะท้อน อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี |
1.ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ตาลโตนด 2. ได้ขับเคลื่อนงานศิลปวัฒนธรรมในตำบลไร่สะท้อน อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี |
22. โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ประกวดโชว์ลีลานางไหและหมากกั๊บแก๊บ | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | 1. นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสามารถในทางวิชาการศิลปะการแสดงพื้นบ้านและทักษะด้านวิชาชีพ 2. นักศึกษาและคณาจารย์ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดงความสามารถที่เป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ สุนทรียภาพทางด้านนาฏศิลป์พื้นบ้าน 3. นักศึกษาและคณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายปฏิบัติศิลปะการแสดงพื้นบ้านได้อย่างถูกต้อง 4. ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปะการแสดงพื้นบ้าน |
23. กิจกรรมพระนครคีรี-เมืองเพชร ครั้งที่ 35 | จังหวัดเพชรบุรี | 1.ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ 2.นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล |
24. ร่วมงานศิลปวัฒนธรรม “100 ปี ราชภัฏพิบูลสงคราม เทิดไท้องค์ราชัน” | มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | 1.ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ 2. ได้เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มเติม สามารถต่อยอดได้อนาคต |
25. ดำเนินการจัดการแสดงในพิธีเปิดงาน “ท่องเที่ยวประจวบคีรีขันธ์มหัศจรรย์ เมืองสาวอ่าว และงานกาชาดประจำปี 2565” | จัังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | 1. มหาวิทยาลัยได้ประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดความเป็นอัตลักษณ์และภาพลักษณ์ที่ดีสู่สายตาประชาชนในการเป็นเลิศทางด้านอาหารและการท่องเที่ยว 2. ได้ส่งเสริมกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยให้ในหลักสูตรหรือการเรียนการสอนต่างๆ 3. ได้ส่งเสริมให้นักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมภายใต้ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม และด้านความเป็นเลิศด้านอาหารและการท่องเที่ยว 4. มหาวิทยาลัยได้แสดงศักยภาพในความเป็นเลิศด้านอาหารนานาชาติ อาหารเชิงสร้างสรรค์ 5. มหาวิทยาลัยได้ก้าวข้ามจำกัดได้ด้านการแสดงออกและการแสดงศักยภาพทั้งด้านการแสดงศิลปวัฒนธรรม ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านอาหารและการท่องเที่ยว 6. มหาวิทยาลัยได้รับการตอบรับที่ดีในด้านการรับนักเรียน – นักศึกษาเข้ามาเรียน |
26. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการฝึกอบรมเครือข่ายศิลปินด้านนาฏดุริยางคศิลป์ของสำนักการสังคีตสู่สถานศึกษา | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี | 1. ได้แนวร่วมเครือข่าย ในการอนุรักษ์ เผยแพร่มรดกศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์ 2. ได้ความสมานฉันท์และความเข้าใจอันดีระหว่างสถานศึกษากับสำนักการสังคีตในการเป็นเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์ 3. สามารถปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกให้เครือข่ายเกิดความรักความหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์ อันเป็นมรดกที่สำคัญของประเทศชาติ 4. สร้างความตระหนักรู้ อนุรักษ์ และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ |
27. กิจกรรมประเพณีท้ายกรานต์ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๕ แบบวิถีใหม่ (New Normal) | สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1 นักศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อผู้อาวุโสซึ่งมีคุณูปการ ต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 2 สร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรม และเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีกับชุมชน 3 เป็นการเผยแพร่อัตลักษณ์ด้านศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 4 ได้เชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างบุคลากรภายในสถาบันวิจัยฯ |
28. โครงการจัดเก็บข้อมูลสกุลช่างเมืองเพชร : ช่างปูนปั้นและละครชาตรี | จังหวััดเพชรบุรี | 1.ได้ข้อมูลด้านปูนปั้นและละครชาตรีที่เป็นปัจจุบัน 2.ได้นำข้อมูลด้านปูนปั้นและละครชาตรีเผยแพร่ 3.ผลักดันให้ละครชาตรีเป็นมรดกของชาติ 4.สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์และสืบสานศิลปะ วัฒนธรรม |
29. กิจกรรมดนตรี อว.เทิดพระเกียรติ 5 ธันวาคม 2564 ณ บริเวณลานหน้าห้างโรบินสัน จังหวัดเพชรบุรี | ชุมชนสมอพลือ | 1.ได้มีการแสดงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 2.มีความเข้มแข็งด้านศิลปวัฒนธรรมและสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน 3.การบูรณาการกิจกรรมนักศึกษากับงานศิลปวัฒนธรรม |
30. โครงการศูนย์เรียนรู้เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ด้วยฝีมือช่างชั้นเอกเมืองเพชรบุรี ร่วมกับสถาบันช่างเมืองเพชรและศิลปะร่วมสมัย (2564) | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1.น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหา วชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 2. เชิดชูภูมิปัญญาสกุลช่างเมืองเพชร 3. อุทยานปูนปั้นเมืองเพชรที่สมบูรณ์ 4. สร้างความเป็นอัตลักษณ์และแหล่งเรียนรู้อุทยานปูนปั้นเมืองเพชรสำหรับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างช่างเมืองเพชรและมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี |
31. โครงการขับเคลื่อนระบบและกลไกและกระบวนการจัดกิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (2564) | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | |
32. โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมย่อย โครงการเตรียมความพร้อมการประกวดนางไหและกั๊บแก๊บ ในงาน BRICC Festival 2021 “ราชภัฏบุรีรัมย์ มหกรรมวิชาการและวัฒนธรรมนานาชาติ ครั้งที่ 4 (2564) | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุุรีรัมย์ | 1. นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสามารถในทางวิชาการศิลปะการแสดงพื้นบ้านและทักษะด้านวิชาชีพ 2. นักศึกษาและคณาจารย์ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดงความสามารถที่เป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ สุนทรียภาพทางด้านนาฏศิลป์พื้นบ้าน 3. นักศึกษาและคณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายปฏิบัติศิลปะการแสดงพื้นบ้านได้อย่างถูกต้อง 4. ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปะการแสดงพื้นบ้าน |
33. กิจกรรมและการประกวดใส่ผ้าไทย โครงการส่งเสริมค่านิยมความเป็นไทย “สวมใส่ผ้าไทยทุกวันศุกร์” (2564) | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ 2. ได้ให้นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล 3. ได้สนับสนุนให้อาจารย์ / นักศึกษา และบุคลากรได้เรียนรู้ผลงานวิจัยศิลปวัฒนธรรม |
34. โครงการร่วมงานงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปี 2564 | มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร | 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ 2. ได้ให้นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล 3. ได้สนับสนุนให้อาจารย์ / นักศึกษา และบุคลากรได้เรียนรู้ผลงานวิจัยศิลปวัฒนธรรม |
35. โครงการส่งเสริมศักยภาพการประกวดผลงานด้านศิลปกรรม (2564) | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | 1. นักศึกษาได้ฝึกฝีมือในการส่งผลงานในเวทีระดับชาติ 2. ได้สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเป็นที่ประจักษ์ |
36. กิจกรรมการประชุมสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 5 (2564) | ||
37. โครงการเสริมศักยภาพเครือข่ายมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความเชื่อและพิธีกรรมงานปีผีมดสู่การต่อยอดอัตลักษณ์ท้องถิ่นเพชรบุรี ประจำปี 2564 | 1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจต่อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความเชื่อเกี่ยวกับงานปีผีมด 2.เพื่อให้นักศึกษา/อาจารย์/ชุมชนได้ประสานความร่วมมือในการทำงานด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม 3.เพื่อสนับสนุนให้เกิดการยกระดับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมงานนปีผีมดสู่ระดับชาติได้ |
|
38. กิจกรรมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากต้นแบบอัตลักษณ์ผ้าไทย(ผ้าลายปลาทู) (2564) |