มูลค่าเพิ่มและประโยชน์ต่อชุมชน

กิจกรรมบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2566

ลำดับ กิจกรรมบริการวิชาการ ชุมชนที่บริการวิชาการ ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1 โครงการการส่งเสริมการเลี้ยงสาหร่ายผักกาดทะเล การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสาหร่ายพวงองุ่นเพื่อสร้างทางเลือก และเสริมรายได้แก่กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสาหร่าย ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนบ้านพะเนิน และบ้านแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เกิดแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงสาหร่ายผักกาดทะเลแบบครบวงจรในชุมชนและเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสาหร่ายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงพาณิชย์
2 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีปีที่ 4 ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยฯ และชุมชนเครือข่ายที่มาศึกษาดูงาน สามารถประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการเกษตรระดับชุมชน
3 แปลงสาธิตการปลูกผักยกโต๊ะ เพื่อการเรียนรู้และสร้างมูลค่าเพิ่ม วิสาหกิจชุมชนบ้านโป่งสลอด ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี สามารถประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการทำแปลงผักยกโต๊ะระดับครัวเรือน และชุมชน
4 การส่งเสริมการปลูกผักยกโต๊ะกางมุ้งชุมชนบ้านดอนขุนห้วย ปีที่ 2 ชุมชนบ้านดอนขุนห้วย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนมีรายได้จากการได้รับการส่งเสริมอาชีพการทำผักยกโต๊ะกางมุ้ง
5 การพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์วิทยาเขตโป่งสลอดสู่การวิจัยและการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรและพันธุ์พืชท้องถิ่นของป่าชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
6 โครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ประโยชน์จากชันโรงเพื่อเพิ่มการติดผลของมะพร้าว ชุมชนบ้านบางครก อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เกษตรได้รับการส่งเสริมองค์ความรู้ในการเพิ่มผลิตของมะพร้าว
ลำดับ กิจกรรมบริการวิชาการ ชุมชนที่บริการวิชาการ ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1 โครงการการพัฒนาและยกระดับข้าวหอมมะลิห้วยข้องสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการค้าเชิงพาณิชย์ด้วยศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ชุมชนห้วยข้อง อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ยกระดับข้าวหอมห้วยข้องสู่การสร้างมูลค่า
2 การพัฒนาและส่งเสริมภาพลักษณ์ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดำริ วิทยาเขตโป่งสลอด สู่แผนการตลาดแบบครบวงจร ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สู่การท่องเที่ยวในพื้นที่
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการการพัฒนาและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาหาร และสุขภาพ เพื่อยกระดับรายได้ให้กับชุมชนบ้านหนองน้ำดำ ตำบลห้วยแม่เพรียง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรีชุมชนบ้านหนองน้ำดำ ตำบลห้วยแม่เพรียง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี-ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
-ชุมชนเป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น
-ชุมชนมีผลิตภัณฑ์เป็นของตัวเอง
-ชุมชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
2ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและพฤกษ์เคมีของพืชสมุนไพรในพื้นที่โป่งสลอดชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีเกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรและพันธุ์พืชท้องถิ่นและพัฒนาต่อยอดเพื่อการเพิ่มมูลค่าของป่าชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
3การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของชุมชนผ่านกระบวนการเรียนรู้และการวิเคราะห์เรื่องการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของป่าโป่งสลอดชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีชุมชนเกิดองค์ความรู้กระบวนการจัดทำคาร์บอนเครดิต ของป่าชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
4การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนดอนขุนห้วยสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนชุมชนตำบลดอนขุนห้วย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีเกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตสับปะรดของชุมชน
5การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสับปะรดเพื่อการอุปโภคชุมชนตำบลดอนขุนห้วย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีเกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตสับปะรดของชุมชน
6โครงการพัฒนาศักยภาพของชุมชนผลิตโกโก้ สู่การค้าเชิงพานิชย์ ชุมชนบ้านช้างแรกชุมชนช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อยเกิดกลุ่มผู้ผลิตโกโก้ชุมชนช้างแรก
อำเภอบางสะพานน้อย
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ต้นแบบการสร้างมูลค่าและรายได้จากผลิตภัณฑ์ฟักทองบัตเตอร์นัทชุมชนบ้านพุม่วง ตำบลหนองชุมพล อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี1. ศูนย์การเรียนรู้การปลูกฟักทองบัตเตอร์นัท
2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากฟักทองบัตเตอร์นัท
2ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนแบบครบวงจร วิทยาเขตโป่งสลอดชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีเกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการเกษตร
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างแกนนำต้นแบบผู้สูงอายุสุขภาพดีระดับ Premium ศูนย์เรียนรู้ผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดีเพชรหัวสะพาน-วังตะโกชุมชนหัวสะพาน และชุมชนวังตะโก1. การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน
“วิสาหกิจชุมชนเพชรหัวสะพานวังตะโก”
2. ผลิตภัณฑ์ผ่านการขึ้นทะเบียน อย.
(โตนดไซรับ)
3. เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน
“ศูนย์เรียนรู้ผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี เพชรหัวสะพาน-วังตะโก”
4. บูรณาการเรียนการสอนในสาขาวิชาในคณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ
2โครงการพัฒนาฐานเรียนรู้สมุนไพรแบบผสมผสานบนภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีเกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนด้านสมุนไพรและการใช้ประโยชน์
3การขยายผลรูปแบบการดำเนินงานศูนย์สุขภาพเด็กเล็กต้นแบบ ระยะที่ 3: หนูน้อยปลอดภัยพัฒนาการสมวัย สุขใจต่างรุ่น ในเขตพื้นที่ตำบลต้นมะม่วง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรีชุมชนต้นมะม่วง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรีเกิดศูนย์สุขภาพเด็กเล็กต้นแบบ หนูน้อยปลอดภัยพัฒนาการสมวัย สุขใจต่างรุ่น
4การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางจากสับปะรด ชุมชนตำบลดอนขุนห้วย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีชุมชนตำบลดอนขุนห้วย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีเกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตสับปะรดของชุมชน
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการยกระดับฐานการเรียนรู้เกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย ของดียางหย่อง สู่การตลาดเชิงพาณิชย์ชุมชนยางหย่อง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี1. สมาชิกกลุ่มเพชรยางหย่องมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการตลาดชุมชน โดยการมีส่วนร่วมเพื่อขยายช่องทางในการสร้างรายได้ทั้งการจำหน่ายผลิตภัณฑ์และการบริการทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
2. สมาชิกกลุ่มเพชรยางหย่องสามารถบริหารจัดการทรัพยากรและอาชีพของครัวเรือนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
3. เกิดนวัตกรรมและองค์ความรู้เรื่องรูปแบบการจัดการตลาดชุมชนที่สอดคล้องกับธุรกิจท้องถิ่น โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลยางหย่อง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
2การสร้างสรรค์สื่อประชาสัมพันธ์เพื่อการท่องเที่ยวศูนย์เรียนรู้วิทยาเขตโป่งสลอด “โป่งสลอด เดอะซี่รี่ส์”ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีได้รับการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สู่การท่องเที่ยวในพื้นที่
3โครงการการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ University as Marketplace

1.       วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ ตำบลท่าไม้รวก อำเภอท่ายาง

2.       ชุมชนบ้านสองพี่น้อง อำเภอแก่งกระจาน

3.       กลุ่มอาชีพหมอนฟักทองแฮนเมด อำเภอเขาย้อย

4.       ผู้ประกอบการน้องเล็ก หอยลายทอดกรอบ อำเภอบ้านแหลม

5.       วิสาหกิจชุมชนวัยหวาน อำเภอชะอำ

 

ชุมชนได้รับการยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ชุมชนบ้านลิ้นช้าง ตำบลยางน้ำกลัดเหนือ อำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรีชุมชนบ้านลิ้นช้าง ตำบลยางน้ำกลัดเหนือ อำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี1.เกิดการแก้ปัญหาด้านอาชีพเกษตรกรบ้านลิ้นช้าง ในปัญหาโรคพืชพริกกะเหรี่ยง รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในชุมชน และคณาจารย์
2. เกิดการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ผ่านกิจกรรมค่ายวิชาการที่เป็นประสบการณ์เรียนรู้ให้นักเรียน
2การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพพื้นสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้วิทยาเขตโป่งสลอดชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีได้รับการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สู่การท่องเที่ยวในพื้นที่
3ศูนย์เรียนรู้สถาบันช่างเมืองเพชรและศิลปกรรมร่วมสมัยกลุ่มช่างเมืองเพชรได้รับการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ สืบสาน
4การขยายผลการวิจัยบริหารจัดการขยะ เพื่อนำไปสู่การจัดการขยะต้นทางและการคัดแยกขยะเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี1. อบต. ธงชัย
2. อบต.บ้านกุ่ม
3. อบต. หนองโสน
ลดปริมาณขยะในการเก็บขนร้อยละ 10 /ชุมชน
5พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กในเครือข่ายวิทยาเขตโป่งสลอด มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนบ้านโป่งสลอด
โรงเรียนวัดโพธิ์ลอย
โรงเรียนบ้านหนองโสน
โรงเรียนบ้านดงห้วยหลวง
โรงเรียนวัดจันทาราม
1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้ารับการสอบ O-net มีคะแนนเฉลี่ยทั้งห้าแห่งที่ระดับ 37.19 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศที่ระดับ 37.12 และยังพบว่า มีโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ โรงเรียนบ้านโป่งสลอด โรงเรียนวัดโพธิ์ลอย และโรงเรียนวัดจันทาราม
2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-2 รู้ศัพท์ภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น สามารถเห็นได้จากผลการแข่งขันที่จัดขึ้น
3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-4 สามารถแต่งประโยคภาษาอังกฤษได้ ทั้งนี้ สามารถเห็นได้จากผลการแข่งขันที่จัดขึ้น
4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถแต่งประโยคภาษาอังกฤษเพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรียนของตนได้ ทั้งนี้สามารถเห็นได้จากผลการแข่งขั้นที่จัดขึ้น
5) ได้รับโมเดลเพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษสำหรับความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีและโรงเรียน

ลำดับ

กิจกรรมบริการวิชาการ ชุมชนที่บริการวิชาการ

ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน

1

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ชุมชนในเขตตำบลไร่ใหม่พัฒนา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนบ้านทุ่งขาม ชุมชนบ้านรางจิก ชุมชนบ้านหนองเขื่อน ชุมชนบ้านโป่งเก้งพัฒนา 1. ชุมชนสามารถพึ่งพายกระดับรายได้ชุมชนเป็นชุมชนที่เข้มแข็งต้นแบบ 2. ชุมชนสามารถจัดการกับของเสียจากการผลิตต่างๆ ของกล้วย โดยไม่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม

2

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เสริมสร้างทักษะชีวิต (ศูนย์พัฒนาเยาวชนและผู้นำชุมชน) ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สู่การเป็นแหล่งเรียนรู้

3

ขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์วิจัยมะริด-สิงขร   รอผล

4

การยกระดับคุณภาพโรงเรียน โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking Skills) ของผู้เรียน โรงเรียนเครือข่าย   รอผล

5

พัฒนาคุณภาพบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนกองทุนเพื่อการศึกษาในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ (อบรมการวิจัยในชั้นเรียน)    รอผล

6

พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (MOU) ระยะ 2 : โรงเรียนธนาคารออมสิน โรงเรียนห้วยไคร้  รอผล

7

พัฒนาสมรรถนะด้านการศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (MOU) ระยะ 2 โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยา โรงเรียนบ้านพุน้อย  รอผล

8

การยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนกองทุนเพื่อการศึกษาในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนบ้านดอนขุนห้วย โรงเรียนบ้านหนองเผาถ่าน  รอผล
ลำดับ กิจกรรมบริการวิชาการ ชุมชนที่บริการวิชาการ ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1 การพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมการอ่าน เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน โรงเรียนกองทุนเพื่อการศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนบ้านโป่งสลอด โรงเรียนบ้านหุบกะพง โรงเรียน ตชด.นเรศวร ห้วยโสก โรงเรียนได้รับการพัฒนาห้องสมุดสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ และการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ห้องสมุด
ลำดับ กิจกรรมบริการวิชาการ ชุมชนที่บริการวิชาการ ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1 การพัฒนาศักยภาพชุมชนนาแปลงใหญ่บางสะพาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่ข้าวธงชัย เกิดการพัฒนาโรงสีข้าวชุมชน และผลิตภัณฑ์จากข้าว ได้แก่ ข้าวสารบรรจุถุง และโจ๊กสำเร็จรูป
2 โครงการพัฒนาศักยภาพของชุมชนผลิตโกโก้ สู่การค้าเชิงพานิชย์ ชุมชนบ้านช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมชนช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อย เกิดกลุ่มผู้ผลิตโกโก้ชุมชนช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อย
3 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟโรบัสต้าเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์อย่างครบวงจร ชุมชนบ้านหนองน้ำดำ ชุมชนบ้านป่าเด็ง ชุมชนบ้านสองพี่น้อง ชุมชนบ้านโป่งลึก-กลอย ชุมชนได้รับการยกระดับมาตรฐานผลผลิตกาแฟโรบัสต้าการค้าเชิงพานิชย์
4 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การใช้ประโยชน์ 1.ชุุมชนช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อย 2.สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จำกัด 3.สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จำกัด” ชุมชนได้รับการพัฒนาและยกระดับผลผลิตกล้วยหอมทองตกเกรดสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มโดยผลิตเป็นน้ำกล้วยหอมทองพร้อมดื่ม
5 การพัฒนาแปลงสาธิตการปลูกกาแฟและข้าวไร่พื้นเมืองเพื่อการเรียนรู้และการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงพาณิชย์ ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูกพืชเศรษฐกิจ
6 การพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดำริสู่ต้นแบบนวัตกรรมเกษตรแบบครบวงจร เพื่อการศึกษาและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นศูนย์เรียนเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดำริสู่ต้นแบบนวัตกรรมเกษตรแบบครบวงจร เพื่อการศึกษาและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
7 การพัฒนาการปลูกมะม่วงนอกฤดูและการทดลองปลูกองุ่น เพื่อการศึกษาวิจัยและสร้างรายได้แก่ชุมชน ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูกมะม่วงนอกฤดู
8 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้พันธุ์ไผ่เพื่อการศึกษา วิจัย และยกระดับรายได้ของชุมชนโป่งสลอดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนบ้านโป่งสลอด  อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการพัฒนาศูนย์เรียนรู้พันธุ์ไผ่เพื่อการศึกษา วิจัย และยกระดับรายได้ของชุมชนโป่งสลอดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
9 อบรมเพิ่มศักยภาพครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 11 โรงเรียน โรงเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพบุคลากรครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

ลำดับ

กิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการ

ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน

1Social Engineer school (โรงเรียนวิศวกรสังคม)ชุมชนบ้านโป่งสลอด

– ผู้ที่สนใจเกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับวิศวกรสังคมและการนำเครื่องมือวิศวกรสังคมไปปรับใช้

– ยกระดับศูนย์การเรียนรู้วิศวกรสังคม

2พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว “จากเขาวังสู่เขาแด่น”ตำบลหนองกระปุ อำเภอบ้านลาด

– เป็นแหล่งการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและชุมชนใกล้เคียง

– ชุมชนเกิดรายได้จากการที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามา

3ยุวเกษตรพอเพียง สืบสาน รักษาและต่อยอด จังหวัดเพชรบุรีหรือจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

-โรงเรียนหุบกะพง

-โรงเรียนบ้านสามร้อยยอดวิทยาคม

-โรงเรียนอานันท์

 

– นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิศวกรสังคม

– โรงเรียนเกิดนวัตกรรมที่สามารถนำไปต่อยอด

– นักเรียนได้วัตถุดิบในการทำอาหารกลางวัน อีกทั้งเกิดรายได้จากการนำไปจำหน่าย

4พัฒนาผลิตภัณฑ์และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านโป่งสลอด

– ยกระดับศูนย์การเรียนรู้และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

– เกิดรายได้จากการที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามา

5ราชภัฏทอฝัน ปันน้ำใจ ปีที่ 9ตำบลยางหย่อง

– คนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการขยายช่องทางในการสร้างรายได้ทั้งการจำหน่ายผลิตภัณฑ์และการบริการ

– คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น

6นักนวัตกรชุมชนชุมชนบ้านโป่งสลอด

– บัณฑิตจบใหม่และนักศึกษานำเครื่องมือวิศวกรสังคมไปสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง

– บัณฑิตจบใหม่และนักศึกษาให้มีงานทำและฟื้นฟูเศรษฐกิจของชุมชน

Scroll to Top