1 | รางวัลยกย่องคุณธรรมจริยธรรม (บุคคลต้นแบบความดี) ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิยอดเยี่ยม ตามที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรี สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เทศบาลเมืองหัวหินและองค์การบริหารส่วนตำบลมาบปลาเค้า อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ได้จัดโครงการอัตลักษณาภาษาศิลป์กับศิลปะ ศิลปินบนถิ่นไทย ครั้งที่ 16 ประจำปี 2565 โดยภายในงานได้มีการพิจารณารางวัลยกย่องคุณธรรมจริยธรรม (บุคคลต้นแบบความดี) เพื่อแสดงการยกย่องบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานอันทรงคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจนปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
เข้ารับเกียรติบัตรในวันที่ 9 กรกฎาคม 2565 ณ ห้างสรรพสินค้ามาร์เก็ตวิลเลจ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | พลอากาศเอกชลิต พุกผาสุข องคมนตรี องคมนตรี นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิยอดเยี่ยม | | ระดับท้องถิ่น | บุคลากร |
2 | รางวัลยกย่องคุณธรรมจริยธรรม (บุคคลต้นแบบความดี) ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิดีเด่น กลุ่มส่งเสริมสังคมดีเด่น ตามที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรี สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เทศบาลเมืองหัวหินและองค์การบริหารส่วนตำบลมาบปลาเค้า อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ได้จัดโครงการอัตลักษณาภาษาศิลป์กับศิลปะ ศิลปินบนถิ่นไทย ครั้งที่ 16 ประจำปี 2565 โดยภายในงานได้มีการพิจารณารางวัลยกย่องคุณธรรมจริยธรรม (บุคคลต้นแบบความดี) เพื่อแสดงการยกย่องบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานอันทรงคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจนปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
เข้ารับเกียรติบัตรในวันที่ 9 กรกฎาคม 2565 ณ ห้างสรรพสินค้ามาร์เก็ตวิลเลจ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | อาจารย์ ดร.วนิดา มากศิริ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิดีเด่น กลุ่มส่งเสริมสังคมดีเด่น | | ระดับท้องถิ่น | เกษตร |
3 | รางวัลยกย่องคุณธรรมจริยธรรม (บุคคลต้นแบบความดี)ประเภทบุคลากรทางการศึกษาสายวิชาการดีเด่น ตามที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรี สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เทศบาลเมืองหัวหินและองค์การบริหารส่วนตำบลมาบปลาเค้า อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ได้จัดโครงการอัตลักษณาภาษาศิลป์กับศิลปะ ศิลปินบนถิ่นไทย ครั้งที่ 16 ประจำปี 2565 โดยภายในงานได้มีการพิจารณารางวัลยกย่องคุณธรรมจริยธรรม (บุคคลต้นแบบความดี) เพื่อแสดงการยกย่องบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานอันทรงคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจนปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
เข้ารับเกียรติบัตรในวันที่ 9 กรกฎาคม 2565 ณ ห้างสรรพสินค้ามาร์เก็ตวิลเลจ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | อาจารย์ ดร.สรไกร เรืองรุ่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประเภทบุคลากรทางการศึกษาสายวิชาการดีเด่น | | ระดับท้องถิ่น | มนุษยฯ |
4 | รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่นที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่องานวิชาการและสังคม ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภาพร กล่ำสกุล หัวหน้าโครงการประเด็นการยกระดับเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เกลือทะเลไทย ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภาพร กล่ำสกุล หัวหน้าโครงการประเด็นการยกระดับเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เกลือทะเลไทย ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | | ระดับภูมิภาค | การจัดการ |
5 | รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่นที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่องานวิชาการและสังคม ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 | อาจารย์จรรยาพร บุญเหลือ หัวหน้าโครงการประเด็นการศึกษาและวิเคราะห์สภาวการณ์วิกฤติโควิด-19 ซึ่งรับทุนสนับสนุนตามนโยบายมหาวิทยาลัยและสอดคล้องกับนโยบายจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุข | | ระดับภูมิภาค | การจัดการ |
6 | รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่นที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่องานวิชาการและสังคม ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 | อาจารย์ ดร.เมธาวิน สาระยาน หัวหน้าโครงการประเด็นการสร้างนักศึกษาต้นแบบโดยใช้เครื่องมือวิศวกรสังคม ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | | ระดับภูมิภาค | การจัดการ |
7 | รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่นที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่องานวิชาการและสังคม ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 | อาจารย์ ดร.วรวุทธิ์ ยิ้มแย้ม หัวหน้าโครงการประเด็นการพัฒนาระบบ AI เพื่อแก้ปัญหาทางด้านสาธารณสุข ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | | ระดับภูมิภาค | การจัดการ |
8 | รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่นที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่องานวิชาการและสังคม ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 | อาจารย์คงขวัญ ศรีสอาด หัวหน้าโครงการประเด็นกินดื่มอาหารปลอดภัยสายตะวันตก ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | | ระดับภูมิภาค | การจัดการ |
9 | รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่นที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่องานวิชาการและสังคม ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2565 | อาจารย์ธิดารัตน์ ปิ่นทอง หัวหน้าโครงการประเด็นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการเกษตร ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | | ระดับภูมิภาค | การจัดการ |
10 | รางวัลเชิดชูเกียรติสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสนาะ กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มอบหมายให้อาจารย์ ดร.เมธาวิน สาระยาน ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เข้ารับมอบประกาศนียบัตรจาก ดร.ธนกร ศรีสุขใส ผู้จัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ณ ห้องอินฟินิตี้ บอลรูม โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ หลังได้เข้าร่วมกระบวนการคัดเลือกผลงานสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ในโครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | | ระดับภูมิภาค | หน่วยงาน |
11 | รับการจัดอันดับ โดยด้าน SCDUR เป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ (54.63 คะแนน) และด้าน SCDUSR เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ หลังจากที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้สมัครเข้าร่วมการจัดอันดับมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development University Rankings : SCDUR) และการจัดอันดับดาวของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development University Stars Ratings : SCDUSR) เพื่อพัฒนาการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (SCD) โดยได้มีการจัดเก็บข้อมูลจำนวน 7 ประเภทเพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามศักยภาพของมหาวิทยาลัย ได้แก่ ด้านที่ 1 Policy ด้านที่ 2 Teaching ด้านที่ 3 Academic Services ด้านที่ 4 Cultural Nourishment ด้านที่ 5 Research ด้านที่ 6 Alumni และด้านที่ 7 Award
โดยมูลนิธิส่งเสริมทบวงมหาวิทยาลัย ได้ประกาศผลการจัดอันดับ SCDUR และ SCDUSR เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2565 โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีได้รับการจัดอันดับ โดยด้าน SCDUR เป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ (54.63 คะแนน) และด้าน SCDUSR เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | | ระดับชาติ | หน่วยงาน |
12 | รับรางวัลอาจารย์ดีเด่นด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น (การพัฒนาชนบท) ประจำปี 2564 ผศ.พจนารถ บัวเขียว รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เข้ารับรางวัลอาจารย์ดีเด่นด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น (การพัฒนาชนบท) ประจำปี 2564 จากมูลนิธิศาสตราจารย์บุญถิ่น อัตถากร ร่วมกับมูลนิธิ ดร.สายหยุด จำปาทอง มูลนิธิ 100 ปี การฝึกหัดครูไทย และมูลนิธิหลวงพ่อวัดไร่ขิง : 100 ปี การฝึกหัดครูไทย สนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่ง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
สำหรับรางวัลดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อสนองพระบรมราโชบายในแผนยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น และแผนยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้แก่คณาจารย์ที่ได้ทุ่มเท เสียสละเพื่อส่วนรวม | ผศ.พจนารถ บัวเขียว | | ระดับชาติ | มนุษยฯ |
13 | รางวัลชนะเลิศ รางวัลระดับองค์กร การประยุกต์ใช้งานแนวปฏิบัติจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสนาะ กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี พร้อมด้วย อาจารย์ ดร.วิวิศณ์ สุขแสงอร่าม คณบดีคณะวิทยาการจัดการ และอาจารย์ ดร.วรวุทธิ์ ยิ้มแย้ม อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการดิจิทัล เข้ารับรางวัลชนะเลิศ รางวัลระดับองค์กร การประยุกต์ใช้งานแนวปฏิบัติจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ จากนายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในโครงการสร้างความตระหนักรู้ การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบมีจริยธรรม เพื่อรองรับการขับเคลื่อนสู่อุตสาหกรรมแห่งอนาคต (Understanding Artificial Intelligence ethics in the New S-Curve Industries) ที่สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดขึ้น โดยมีการมอบรางวัลไปเมื่อช่วงบ่ายวันที่ 16 กันยายน 2565 ณ โรงแรมเบสต์ เวสเทิร์น แวนดา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสนาะ กลิ่นงาม อาจารย์ ดร.วิวิศณ์ สุขแสงอร่าม อาจารย์ ดร.วรวุทธิ์ ยิ้มแย้ม | | ระดับชาติ | หน่วยงาน |
14 | รางวัล“วัฒนคุณาธร” ประจำปี 2565 ประเภทนิติบุคคล เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติแก่เด็กหรือเยาวชน บุคคล นิติบุคคลหรือคณะบุคคลที่ร่วมเป็นพลังขับเคลื่อนงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม ครบรอบ 20 ปี 3 ตุลาคม 2565 โดยจะมีการมอบรางวัลในวันที่ 29 ตุลาคม 2565 ณ กระทรวงวัฒนธรรม | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้รับการคัดเลือกผู้ทำคุณประโยชน์ รางวัล“วัฒนคุณาธร” ประจำปี 2565 ประเภทนิติบุคคลหรือคณะบุคคล | | ระดับชาติ | หน่วยงาน |
15 | รางวัลชนะเลิศประเภทศูนย์สมรรถนะสูง โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ในนามประธานศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (Agritech and Innovation Center : AIC) จังหวัดเพชรบุรี ภายใต้คณะกรรมการบริหารศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม ได้ตัดสินรางวัลการประกวด AIC Award 2022 โดยมีอาจารย์ ดร.วนิดา มากศิริ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร เป็นผู้แทนในการรับมอบเกียรติบัตร | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี | | ระดับชาติ | หน่วยงาน |
16 | ผศ.ดร.เสนาะ กลิ่นงามอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มอยหมายให้ ผศ.พจนารถ บัวเขียว รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีพร้อมด้วยอาจารย์ ดร.ทวิพัฒน์ วิจิตรปัญญารักษ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และบุคลากรสถาบันวิจัยฯ เข้ารับมอบโล่เชิดชูเกียรติผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ประเภทนิติบุคคล จากนายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2565 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
สืบเนื่องจากประกาศกระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศรายชื่อผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ระดับประเทศ ประเภทนิติบุคคล เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติที่ร่วมเป็นพลังขับเคลื่อนงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม ครบรอบ 20 ปี 3 ตุลาคม 2565 โดยมีสถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานที่รวบรวมข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมย้อนหลัง 3 ปี เพื่อใช้ในการประกอบการพิจารณาเข้ารับรางวัลในครั้งนี้ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี รับมอบโล่เชิดชูเกียรติผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ประเภทนิติบุคคล | | ระดับชาติ | หน่วยงาน |
17 | รางวัล SILVER MEDAL AWARD จากผลงานวิจัยเรื่องการพัฒนาขนมหม้อแกงเมืองเพชรสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ ในงานประกวดสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมนานาชาติ 2022 Japan Design, Idea And Invention Expo (JDIE 2022) ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุคนธา สุคนธ์ธารา หัวหน้าทีมวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูนศิริ ทิพย์เนตร และ อาจารย์ธนิดา ชาญชัย ทีมวิจัย | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุคนธา สุคนธ์ธารา หัวหน้าทีมวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูนศิริ ทิพย์เนตร และ อาจารย์ธนิดา ชาญชัย ทีมวิจัย | | ระดับนานาชาติ | วิทยาศาสตร์ |
18 | รางวัลชนะเลิศการประกวดแข่งขันคลิป VDO สั้น จัดโดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ Techno art 2022 BCG | นายณัฏฐนันท์ ศูนย์จันดา นักบริหารงานทั่วไป ชำนาญการ | | ระดับภูมิภาค | หน่่วยงาน |
19 | รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 การแข่งขันประกวดภาพถ่าย BCG Photo Contest 2022 หัวข้อการประกวด : BCG ในความคิดคุณ | อาจารย์ศจีมาศ นันตสุคนธ์ ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีและศิลปะการประกอบอาหาร | | ระดับชาติ | วิทยาศาสตร์ |
20 | รางวัลชมเชย ผลงานรูปแบบการพัฒนา Soft Skill ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม “เส้นทางท่องเที่ยวจากเขาวังสู่เขาแด่น (เลควัลเล่ย์)” เข้าร่วมแข่งขันประกวดผลงานบริการวิชาการ หัวข้อ “นวัตกรรมการบริการวิชาการสู่ชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน : Innovative Academic Community Services for Sustainable Development (University as a Supporter)” ในงานวันประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ครั้งที่ 9 (Chandrakasem Rajabhat University, Quality Assurance Day ; 9th CRU QA Day) วันที่ 26 เมษายน 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร | นายกิตติภพ รักษาราษฎร์ รักษาการผู้อำนวยการกองพัฒนานักศึกษา พร้อมด้วยนางสาวน้ำฝน แสงอรุณ รักษาการหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบคุณภาพการศึกษา | | ระดับภูมิภาค | หน่วยงาน |
21 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะครุศาสตร์ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนาธิป บุบผามาศ คณะครุศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | ครุศาสตร์ |
22 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะครุศาสตร์ | อาจารย์กุศล ช่วงศรี คณะครุศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | คณะครุศาสตร์ |
23 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะครุศาสตร์ | อาจารย์ ดร.ดำรงค์ ตุ้มทอง คณะครุศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | คณะครุศาสตร์ |
24 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ | อาจารย์วิโรจน์ เจ้ยเปลี่ยน คณะพยาบาลศาสตร์ฯ | | ระดับท้องถิ่น | พยาบาลฯ |
25 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ | อาจารย์ธินัฏนัณ อนันตศิริสถาพร คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ | | ระดับท้องถิ่น | พยาบาลฯ |
26 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ | อาจารย์ ดร.นงลักษณฺ์ กลิ่นพุดตาล คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ | | ระดับท้องถิ่น | พยาบาลฯ |
27 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | อาจารย์ศิริพร อ่วมศิริ คณะเทตโนโลยีสารสนเทศ | | ระดับท้องถิ่น | ไอที |
28 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุกุมา อ่วมเจริญ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | | ระดับท้องถิ่น | ไอที |
29 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | อาจารย์ ดร.สราวุธ แผลงศร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | | ระดับท้องถิ่น | ไอที |
30 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ | อาจารย์ ดร.อัจราวรรณ เพ็ญวันศุกร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | มนุษยฯ |
31 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ | อาจารย์ศิริวัฒน์ ขำเกิด คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | มนุษยฯ |
32 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ | อาจารย์ศราวุฒิ ด้วงเบ้า คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | มนุษยฯ |
33 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะวิทยาการจัดการ | อาจารย์จรรยาพร บุญเหลือ คณะวิทยาการจัดการ | | ระดับท้องถิ่น | การจัดการ |
34 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะวิทยาการจัดการ | อาจารย์คงขวััญ ศรีสอาด คณะวิทยาการจัดการ | | ระดับท้องถิ่น | การจัดการ |
35 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะวิทยาการจัดการ | อาจารย์นิฤมล หิรัญวิจิตรภรณ์ คณะวิทยาการจัดการ | | ระดับท้องถิ่น | การจัดการ |
36 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | อาจารย์ ดร.ไกรฤกษ์ ทวีเชื้อ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | | ระดับท้องถิ่น | วิทยาศาสตร์ |
37 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | อาจารย์ปิยวัฒน์ เนียมมาลัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | | ระดับท้องถิ่น | วิทยาศาสตร์ |
38 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | อาจารย์ ดร.จินตนา สังโสภา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | | ระดับท้องถิ่น | วิทยาศาสตร์ |
39 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | อาจารย์ ดรช่วงชัย ชุปวา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | | ระดับท้องถิ่น | วิศวกรรม |
40 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | อาจารย์จิตรา มีทองคำ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | | ระดับท้องถิ่น | วิศวกรรม |
41 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | อาจารย์พรพรรณ ทองแพง คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | | ระดับท้องถิ่น | วิศวกรรม |
42 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีเด่น คณะเทคโนโลยีีการเกษตร | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วนิดา มากศิริ คณะเทคโนโลยีการเกษตร | | ระดับท้องถิ่น | เกษตร |
43 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะเทคโนโลยีีการเกษตร | ผู้ช่วยศาสตรจารย์อรอนงค์ ศรีพวาทกุล คณะเทคโนโลยีีการเกษตร | | ระดับท้องถิ่น | เกษตร |
44 | อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ที่ให้คำปรึกษาดีเด่น ระดับดีมาก คณะเทคโนโลยีีการเกษตร | อาจารย์ทรงศักดิ์ ธรรมจำรัส คณะเทคโนโลยีีการเกษตร | | ระดับท้องถิ่น | เกษตร |
45 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุุธิดา กรรณสูตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | | ระดับท้องถิ่น | วิทยาศาสตร์ |
46 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภาพร กล่ำสกุล คณะวิทยาการจัดการ | | ระดับท้องถิ่น | การจัดการ |
47 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | อาจารย์ ดร.กรกมล ธนะโรจน์รุ่งเรือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | มนุษยฯ |
48 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | อาจารย์ชลิดา ช้างแก้ว คณะเทคโนโลยีการเกษตร | | ระดับท้องถิ่น | เกษตร |
49 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรทิพย์ บัวสาม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ | | ระดับท้องถิ่น | ไอที |
50 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | อาจารย์ ดร.ณญกร นิลเนตร คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ | | ระดับท้องถิ่น | พยาบาลฯ |
51 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | อาจารย์ ดร.ธำรงค์ บุญพรหม คณะครุศาสตร์ | | ระดับท้องถิ่น | ครุศาสตร์ |
52 | โล่เชิดชูเกียริ ครูดีในดวงใจ ประจำปีการศึกษา 2566 วันที่ 13 สิงหาคม 2566 | อาจารย์ชลิีดล อินยาศรี คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | | ระดับท้องถิ่น | วิศวกรรม |