มูลค่าเพิ่มและประโยชน์ต่อชุมชน

กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ 2565

กิจกรรม ชุมชนที่บริการวิชาการ ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1. กิจกรรมทำบุญตักบาตร “วันมาฆบูชา” ในวันพุธ ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2565 เพื่อเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม
2. การทำขวัญนาเกลือทะเลไทยเพชรบุรี (วันที่ 28 มกราคม 2565) ณ สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทยเพชรบุรี จำกัด เพื้อฟื้นฟูพิธีการทำขวัญนาเกลือ  ส่งเสริม สนับสนุน การจัดอการองค์ความรู้ ภูมิปัญญาการทำนาเกลือ
3. กิจกรรมถวายเทียนพรรษา ชุมชนวัดห้วยเสือ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดกิจกรรมแห่เทียนพรรษา
เพื่อให้นักศึกษาและชุมชน ที่นับถือพุทธศาสนาเข้าใจและตระหนักถึง
วันสำคัญของวันเข้าพรรษาและได้ประพฤติตนอย่างถูกต้องเหมาะสม
ตามวิถีของชาวพุทธ  เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมและสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรมในการประพฤติ
ปฏิบัติตน เป็นพุทธศาสนิกชนชาวพุทธที่ดี
4. โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ความเป็นไทย และการมีจิตอาสาเพื่อสังคม คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 1. นักศึกษาตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย เป็นพลเมืองที่ดี
2. นักศึกษามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม มีจิตอาสา
5. กิจกรรมอบรมปลูกฝังและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สามารถปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และสร้างจิตส านึกที่ดีที่ถูกต้องแก่นักศึกษาได้
6. งานสืบสานพิธีทำขวัญเกลือ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเกลือทะเลเพื่อการเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทย เพชรบุรีจำกัด ตำบลบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
7. กิจกรรมลอยกระทงสไตล์วิศวะ บุคคลทั่วไป ได้เผยแพร่ประเพณีและวัฒนธรรมไทยที่มีความสำคัญและมีคุณค่าต่อสังคมผ่านสื่อสังคมสังคมออนไลน์
8. กิจกรรมถวายเทียนพรรษา เนื่องในวันเข้าพรรษา วันที่ 25 กรกฎาคม 2564 วัดธรรมรังษี ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม ความเป็นไทย
9. ถวายเทียนพรรษา เนื่องในวันเข้าพรรษา วันที่ 24 กรกฎาคม 2564 วัดเพรียง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ประเพณี  วัฒนธรรม ความเป็นไทย
10. การขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ของคณะ ที่สอดคล้องบูรณาการกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย   เพชรบุรีเป็นเมืองแห่งศิลปวัฒนธรรมที่เป็นมรดำล้ำค่าทางวัฒนธรรม เป็นการถ่ายทอดฝีมือ รูปแบบ และเนื้อหาจนเป็นลักษณะเฉพาะของสกุลช่างเมืองเพชรทีมีความประณีตศิลป์ มีความงดงามตลอดจนมีลักษณะที่โดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด  จึงควรแก่การอนุรักษ์ฟื้นฟู พัฒนา และถ่ายทอดให้คงอยุ่ต่อไป ให้เป็นแหล่งเรียนรู้างวิชาการที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรม
11. กิจกรรม สนับสนุนการจัดทำผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีของนักศึกษาเพื่อจดลิขสิทธิ์
12. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรจิตกรรมสร้างสรรค์
13. ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในรูปแบบดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีและโรงเรียนเครือข่าย 1. มีสารสนเทศ/องค์ความรู้ด้านศาสตร์พระราชา และผลงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีที่แนวทางตามพระราชดำริสู่การพัฒนาท้องถิ่นตามบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์น้อมนำ
2. มีระบบการจัดการองค์ความรู้ศาสตร์พระราชาในรูปแบบดิจิทัล รองรับการพัฒนาเป็น Digital Museum
3. เป็นแหล่งเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์
14. ถวายเทียนพรรษา ปีการศึกษา 2564 วัดมหาธาตุวรวิหาร 1. นักศึกษามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย
2. นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ในการประพฤติและปฏิบติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี
15. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 69 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1. นักศึกษาเกิดความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. นักศึกษาได้เขียนเรียงความและฝึกการใช้ภาษา
3. นักศึกษาได้ กล้าคิด กล้าแสดงออก มีจิตสำนึกและทำงานร่วมกับผู้อื่น
16. กิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรวันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1. นักศึกษามีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร  มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2. นักศึกษาระลึกถึงพระคุณของบิดา
3. นักศึกษามีจิตสำนึกและแสดงออกถึงความรักชาติ
17. ราชภัฏสดุดี  14 กุมภา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1. นักศึกษาสำนักงานในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2. นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม
18. การพัฒนาผ้าไหมใยสับปะรดสู่การสร้างลายอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนบ้านดอนขุนห้วย
ต.ดอนขุนห้วย
อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
1. ได้ลวดลายผ้าทอผ้าไหมที่เป็นอัตลักษณ์ของบ้านดอนขุนห้วย
2. ได้ผ้าทอผ้าไหมที่มีลวดลายอัตลักษณ์ของบ้านดอนขุนห้วย
4. ได้สีสันและลวดลายให้ผ้าไหมผสมเส้นใยสัปปะรด
3. ได้ผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ(กระเป๋า)จากผ้าไหมทอมือบ้านดอนขุนห้วย
19.โครงการค้นหาความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์และศิลปะสร้างสรรค์ “ราชภัฏรังสรรค์ศิลป์ เทิดไท้เอกอัครศิลปินมหาภูมิพล” มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
2. ได้ให้นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล
3. ได้สนับสนุนให้อาจารย์ / นักศึกษา และบุคลากรได้เรียนรู้ผลงานวิจัยศิลปวัฒนธรรม
4. ได้มาตรฐานในการสร้างเวทีและการสร้างความเป็นเลิศในการประกวดทั้งนาฏศิลป์และศิลปะ
20. กิจกรรมร่วมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 20 “ข่วงวัฒนธรรมล้ำค่า สืบสานมรดกภูมิปัญญาของแผ่นดิน”
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
2. นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล
3. ได้เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มเติม สามารถต่อยอดได้อนาคต
21.โครงการลานเพลิน ร้อยดี วิถีบ้านลาด “ถนนต้นตาล ลานวัฒนธรรม อำเภอบ้านลาด” ชุมชนไร่สะท้อน
ต.ไร่สะท้อน
อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี
1.ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ตาลโตนด
2. ได้ขับเคลื่อนงานศิลปวัฒนธรรมในตำบลไร่สะท้อน อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
22. โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม  ประกวดโชว์ลีลานางไหและหมากกั๊บแก๊บ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 1. นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสามารถในทางวิชาการศิลปะการแสดงพื้นบ้านและทักษะด้านวิชาชีพ
2. นักศึกษาและคณาจารย์ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดงความสามารถที่เป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ สุนทรียภาพทางด้านนาฏศิลป์พื้นบ้าน
3.  นักศึกษาและคณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายปฏิบัติศิลปะการแสดงพื้นบ้านได้อย่างถูกต้อง
4. ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปะการแสดงพื้นบ้าน
23. กิจกรรมพระนครคีรี-เมืองเพชร ครั้งที่ 35 จังหวัดเพชรบุรี 1.ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
2.นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล
24. ร่วมงานศิลปวัฒนธรรม “100 ปี ราชภัฏพิบูลสงคราม เทิดไท้องค์ราชัน” มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 1.ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
2. ได้เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มเติม สามารถต่อยอดได้อนาคต
25. ดำเนินการจัดการแสดงในพิธีเปิดงาน “ท่องเที่ยวประจวบคีรีขันธ์มหัศจรรย์ เมืองสาวอ่าว และงานกาชาดประจำปี 2565” จัังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1. มหาวิทยาลัยได้ประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดความเป็นอัตลักษณ์และภาพลักษณ์ที่ดีสู่สายตาประชาชนในการเป็นเลิศทางด้านอาหารและการท่องเที่ยว
2. ได้ส่งเสริมกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยให้ในหลักสูตรหรือการเรียนการสอนต่างๆ
3. ได้ส่งเสริมให้นักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมภายใต้ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม และด้านความเป็นเลิศด้านอาหารและการท่องเที่ยว
4. มหาวิทยาลัยได้แสดงศักยภาพในความเป็นเลิศด้านอาหารนานาชาติ อาหารเชิงสร้างสรรค์
5. มหาวิทยาลัยได้ก้าวข้ามจำกัดได้ด้านการแสดงออกและการแสดงศักยภาพทั้งด้านการแสดงศิลปวัฒนธรรม ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านอาหารและการท่องเที่ยว
6.  มหาวิทยาลัยได้รับการตอบรับที่ดีในด้านการรับนักเรียน – นักศึกษาเข้ามาเรียน
26. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการฝึกอบรมเครือข่ายศิลปินด้านนาฏดุริยางคศิลป์ของสำนักการสังคีตสู่สถานศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี 1. ได้แนวร่วมเครือข่าย ในการอนุรักษ์ เผยแพร่มรดกศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์
2. ได้ความสมานฉันท์และความเข้าใจอันดีระหว่างสถานศึกษากับสำนักการสังคีตในการเป็นเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์
3. สามารถปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกให้เครือข่ายเกิดความรักความหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์ อันเป็นมรดกที่สำคัญของประเทศชาติ
4. สร้างความตระหนักรู้ อนุรักษ์ และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ
27. กิจกรรมประเพณีท้ายกรานต์ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๕ แบบวิถีใหม่ (New Normal) สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1 นักศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อผู้อาวุโสซึ่งมีคุณูปการ
ต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 
2 สร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรม และเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีกับชุมชน
3 เป็นการเผยแพร่อัตลักษณ์ด้านศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
4 ได้เชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างบุคลากรภายในสถาบันวิจัยฯ
28. โครงการจัดเก็บข้อมูลสกุลช่างเมืองเพชร : ช่างปูนปั้นและละครชาตรี จังหวััดเพชรบุรี 1.ได้ข้อมูลด้านปูนปั้นและละครชาตรีที่เป็นปัจจุบัน
2.ได้นำข้อมูลด้านปูนปั้นและละครชาตรีเผยแพร่
3.ผลักดันให้ละครชาตรีเป็นมรดกของชาติ
4.สร้างความตระหนักในการอนุรักษ์และสืบสานศิลปะ วัฒนธรรม
29. กิจกรรมดนตรี อว.เทิดพระเกียรติ 5 ธันวาคม 2564  ณ บริเวณลานหน้าห้างโรบินสัน จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนสมอพลือ 1.ได้มีการแสดงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร  มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2.มีความเข้มแข็งด้านศิลปวัฒนธรรมและสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียน
3.การบูรณาการกิจกรรมนักศึกษากับงานศิลปวัฒนธรรม
30. โครงการศูนย์เรียนรู้เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ  พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ด้วยฝีมือช่างชั้นเอกเมืองเพชรบุรี ร่วมกับสถาบันช่างเมืองเพชรและศิลปะร่วมสมัย (2564) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1.น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จ  พระบรมชนกาธิเบศร  มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9  และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหา วชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
2. เชิดชูภูมิปัญญาสกุลช่างเมืองเพชร
3. อุทยานปูนปั้นเมืองเพชรที่สมบูรณ์
4. สร้างความเป็นอัตลักษณ์และแหล่งเรียนรู้อุทยานปูนปั้นเมืองเพชรสำหรับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป
5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างช่างเมืองเพชรและมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
31. โครงการขับเคลื่อนระบบและกลไกและกระบวนการจัดกิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (2564) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี  
32. โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมย่อย โครงการเตรียมความพร้อมการประกวดนางไหและกั๊บแก๊บ ในงาน BRICC Festival 2021 “ราชภัฏบุรีรัมย์ มหกรรมวิชาการและวัฒนธรรมนานาชาติ ครั้งที่ 4 (2564) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุุรีรัมย์ 1. นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสามารถในทางวิชาการศิลปะการแสดงพื้นบ้านและทักษะด้านวิชาชีพ
2. นักศึกษาและคณาจารย์ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดงความสามารถที่เป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ สุนทรียภาพทางด้านนาฏศิลป์พื้นบ้าน
3.  นักศึกษาและคณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายปฏิบัติศิลปะการแสดงพื้นบ้านได้อย่างถูกต้อง
4. ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปะการแสดงพื้นบ้าน
33. กิจกรรมและการประกวดใส่ผ้าไทย โครงการส่งเสริมค่านิยมความเป็นไทย “สวมใส่ผ้าไทยทุกวันศุกร์” (2564) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
2. ได้ให้นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล
3. ได้สนับสนุนให้อาจารย์ / นักศึกษา และบุคลากรได้เรียนรู้ผลงานวิจัยศิลปวัฒนธรรม
34. โครงการร่วมงานงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปี 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. ได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ
2. ได้ให้นักศึกษา/อาจารย์/ได้มีโอกาสถ่ายทอดและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสู่สากล
3. ได้สนับสนุนให้อาจารย์ / นักศึกษา และบุคลากรได้เรียนรู้ผลงานวิจัยศิลปวัฒนธรรม
35. โครงการส่งเสริมศักยภาพการประกวดผลงานด้านศิลปกรรม (2564) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1. นักศึกษาได้ฝึกฝีมือในการส่งผลงานในเวทีระดับชาติ
2. ได้สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยเป็นที่ประจักษ์
36. กิจกรรมการประชุมสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 5 (2564)    
37. โครงการเสริมศักยภาพเครือข่ายมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความเชื่อและพิธีกรรมงานปีผีมดสู่การต่อยอดอัตลักษณ์ท้องถิ่นเพชรบุรี ประจำปี 2564   1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจต่อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านความเชื่อเกี่ยวกับงานปีผีมด
2.เพื่อให้นักศึกษา/อาจารย์/ชุมชนได้ประสานความร่วมมือในการทำงานด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม
3.เพื่อสนับสนุนให้เกิดการยกระดับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมงานนปีผีมดสู่ระดับชาติได้
38. กิจกรรมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากต้นแบบอัตลักษณ์ผ้าไทย(ผ้าลายปลาทู) (2564)    
Scroll to Top