โครงการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

C. Number of sustainable community development projects within the year of evaluation 8%

  • Total number of existing projects for the year of evaluation (All projects)  85
  • Total number of projects that directly involves to SCD projects/activities within the year of evaluation (SCD projects) 75

แผนภาพที่ 3.3 สัดส่วนโครงการ SCD ต่อโครงการทั้งหมดปีงบประมาณ 2565

ตารางที่ 3.3 แสดงจำนวนโครงการตามแผนปฏิบัติราชการกับโครงการที่เกี่ยวข้องกับบริการวิชาการ
หน่วยงาน โครงการบริการวิชาการตามแผนปฏิบัติราชการ โครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่ดำเนินงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร 6 6
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 3
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 16 16
คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ 6 6
คณะพยาบาลศาสตร์ฯ 5 5
คณะวิทยาการจัดการ 4 4
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4 4
คณะครุศาสตร์ 11 11
สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒธรรม 3 3
สำนักงานอธิการบดี 25 15
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 2
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน  0  0
รวม 85 75

         สรุป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีมีโครงการบริการวิชาการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2565 จำนวน 85 โครงการ โดยมีโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่ดำเนินงานแล้วจำนวน 75 โครงการ ซึ่งโครงการที่ดำเนินงานเรียบร้อยแล้วเกิดผลลัพธ์ต่อชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง ตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดของโครงการอย่างเป็นรูปธรรม

SCD PROJECT

กิจกรรมบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2564
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1การกำจัดแมลงและการสร้างมูลค่าเพ่ิมมะพร้าวแกง ตำบลบางครก อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี หมู่ 11 ตำบลบางครก อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี – เพื่อควบคุมการระบาดแมลงศัตรูมะพร้าว
2โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ ตำบลช่องสะแก  ตำบลช่องสะแก – เพื่่อเพิ่มมูลค่าจากเศษเหลือจากการผลิตมะพร้าว
3ศูนย์การเรียนรู้เกษตรผสมผสานมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี  – ลดต้นทุการผลิต
4โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ  – เกษตรกรมีรายได้เพ่ิม
5การยกระดับคุณภาพอาหารปลอดภัยสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สำหรับกลุ่มเกษตรอินทรีย์จังหวัดเพชรบุรี  
ลำดับ กิจกรรมบริการวิชาการ ชุมชนที่บริการวิชาการ ผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1 กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชนด้านท่องเที่ยวและอาชีพชุมชนด้วยศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ บ้านไร่กร่าง และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีวิทยาเขตโป่งสลอด การท่องเที่ยวและอาชีพ , ศูนยืการเรียนรู้เกษตรแบบผสมผสาน
2 กิจกรรมยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ ตำบลไร่สะท้อน 4 ด้าน อาชีพ ผลิตภัณฑ์ การท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม
3 กิจกรรมพัฒนาระบบข้อมูลระดับตำบล 5 พื้นที่ ท่าแร้ง บ้านไร่มะนาว ไร่สะท้อน บ้านหนองแก บ้านไร่ฝาง บ้านไร่หัวโลด บ้านไร่กร่าง บ้านสมอลก หมู่บ้านรวมไทย หัวทุ่ง-ทุ่งพร้าวพัฒนา
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการ
 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ชุมชนฐานราก (ความยากจน) 
1กิจกรรมการพัฒนาด้านอาหารการท่องเที่ยวและสุขภาพ เพื่อยกระดับรายได้ให้กับ ชุมชนบ้านพุเข็ม ต้าบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรีชุมชนบ้านพุเข็ม ต้าบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ 
2กิจกรรมการสำรวจและติดตามการงอกของเมล็ดพันธุ์ไม้เด่นในพื้นที่ป่าโป่งสลอดเพื่อการอนุรักษ์ชุมชนบ้านโป่งสลอด 
3กิจกรรมการแปรรูปและพัฒนาพันธุ์ข้าวหอมพื้นเมืองจังหวัดเพชรบุรี 
4กิจกรรมการปรับปรุงคุณภาพดินโดยใช้ปูนขาวอินทรีย์และปุ๋ยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขตโป่งสลอด ตำบลหนองกะปุ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีวิทยาเขตโป่งสลอด ตำบลหนองกะปุ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 
5กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพจากเนื้อตาลร่วมกับชุมชนใน อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี ชุมชนใน อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี
6กิจกรรมการศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สำคัญของตาลโตนดจังหวัดเพชรบุรีเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์วิทยาเขตโป่งสลอด ตำบลหนองกะปุ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 
7กิจกรรมรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้วิทยาเขตโป่งสลอด ตำบลหนองกะปุ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี  
8กิจกรรมการพัฒนาแผ่นดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์จากวัสดุเหลือทิ้งจากตาล จังหวัดเพชรบุรีวิทยาเขตโป่งสลอด ตำบลหนองกะปุ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี  
 โครงการตามบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 
9กิจกรรมพัฒนาและยกระดับเกษตรอินทรีย์สู่การค้าเชิงพาณิชย์ 
10กิจกรรมยกระดับคุณภาพอาหารสู่เชิงพาณิชย์ ชุมชนบ้านบางแก้ว ต.บางแก้วอ. บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนบ้านบางแก้ว ต.บางแก้วอ. บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
11กิจกรรมยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการตำบลวังจันทร์ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ภายใต้โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ตำบลวังจันทร์ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี 
12กิจกรรมยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ภายใต้โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี 
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการยกระดับเศรษฐกิจรายตำบลแบบบูรณาการ ( 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย)ต.บางเค็มชุมชนได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประจำท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ และส่งเสริมการท่องเที่ยว, พัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน, เพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชน
2โครงการยกระดับเศรษฐกิจรายตำบลแบบบูรณาการ ( 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย)ต.ห้วยท่าช้างชุมชนได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประจำท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ และส่งเสริมการท่องเที่ยว, พัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน, เพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชน
3โครงการยกระดับเศรษฐกิจรายตำบลแบบบูรณาการ ( 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย)ต.ทับคางชุมชนได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประจำท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ และส่งเสริมการท่องเที่ยว, พัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน, เพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชน
4โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ชุมชนฐานรากแก้ไขปัญหาความยากจน (1 คณะ 1 อำเภอ)ชุมชนบ้านโป่งสลอด อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี (โรงเรียนบ้านโป่งสลอด)ชุุมชนได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้พลังงานทดแทน (เครื่องสูบน้ำพลังงานแสงอาทิต์ เครื่องเพิ่มออกซิเจนในน้ำพลังงานแสงอาทิตย์) เพื่อใช้ในงานเกษตรกรรม เป็นการลดค่าใช้จ่ายและลดต้นทุนของเกษตรกร และทำให้มีรายได้/กำไร จากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น
5โครงการพัฒนาระบบน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคให้กับโรงเรียนบ้านห้วยไคร้โรงเรียนบ้านห้วยไคร้ ต.หนองพลับ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์บุคลากรและนักเรียน ผู้ปกครอง ได้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค ที่ถูกสุขลักษณะและเป็นไปตามมาตรฐาน พร้อมทั้งการใช้ระบบไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทำให้ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
6โครงการพัฒนาแปลงต้นแบบเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวิทยาเขตโป่งสลอดชุมชนบ้านโป่งสลอด อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรีชุมชนมีต้นแบบการใช้พลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์) เพื่อใช้ในกิจกรรมด้านการเกษตร ได้รับความรู้ในการทำแปลงเกษตรโดยใช้ระบบน้ำจากพลังงานงานทดแทน
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ต สองพี่น้อง อแก่งกระจาน จเพชรบุรีชุมชนได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประจำท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ และส่งเสริมการท่องเที่ยว, พัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน, เพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชน
2โครงการพัฒนาต้นแบบศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็กสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ต.หัวสะพาน อ.เมือง จ.เพชรบุรี ต.หัวสะพาน อ.เมือง จ.เพชรบุรีชุุมชนได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสุขภาพ การจัดการความยากจน ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและนักเรียนในโรงเรียน สร้างเครือข่ายสุขภาพในการดูแลผู้สูงอายุ
3ศูนย์สุขภาพเด็กเล็กต้นแบบ ระยะที่ 1: หนูน้อยปลอดภัย พัฒนาการสมวัย สุขใจต่างรุ่น  
4การแปรรูปสมุนไพรจากฐานแปลงเกษตรสมุนไพร ศูนย์เรียนรู้การเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริการวิชาการโป่งสลอด 
5โครงการพัฒนาและยกระดับพืชสมุนไพรวิทยาเขตโป่งสลอดสู่การสร้างมูลค่าสมุนไพรเชิงพาณิชย์โป่งสลอด 
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1การพัฒนาชุมชนต้นแบบเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย สุขภาพดีมีรายได้ ตำบลยางหย่อง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี งบประมาณ 2564 ชุุมชนยางหย่อง1. เกิดกลุ่มเกษตรกร “เกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย ตำบลยางหย่อง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี” เพื่อเป็นต้นแบบในการทำการเกษตรปลอดสารพิษของชุมชนยางหย่อง ให้ความรู้และส่งเสริมการตลาดสินค้าเกษตรชุมชน ในรูปแบบการขายออนไลน์ และออฟไลน์ อย่างน้อย 20 ครัวเรือน
2. เกิดตราสินค้าชุมชนโดยการร่วมคิด ร่วมพัฒนาของสมาชิกกลุ่มในนาม “เพชรยางหย่อง”
3. เกิดสื่อเพื่อส่งเสริมการตลาดทั้งในรูปแบบออนไลน์ 2 รูปแบบ คือ เพจเกษตรปลอดสารอาหารปลอดภัย @ ยางหย่อง คลิปโฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้จัดตำบลยางหย่อง และรูปแบบออฟไลน์ 3 รูปแบบ คือ ตราสินค้าชุมชน “เพชรยางหย่อง” กระเป๋าผ้ารักษ์โลก ป้ายร้านค้าเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย
4. เกิดฐานการเรียนรู้เกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย จำนวน 6 ฐาน ได้แก่ ฐานการเรียนรู้ 1. ฐานเรารักษ์ยางหย่อง 2.ฐานภูมิปัญญาข้าวหลามยางหย่อง 3. ฐานการปลูกผักปลอดสารพิษ 4. ฐานการทำปุ๋ยอินทรีย์บ่อหมักรักษ์โลก 5. การปลูกข้าวปลอดสารพิษ 6. โคก หนอง นา ชีวิตพอดีด้วยวิถีพอเพียง
5 . ได้ต้นแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนจากงานวิจัย “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวหลามยางหย่องที่สอดคล้องกับการยอมรับของตลาดเพื่อนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์” ผลการวิจัยได้ต้นแบบนวัตกรรมข้าวหลามสุญญากาศเพชรยางหย่องที่ผ่านการทดลองคุณภาพทางวิทยาศาสตร์การอาหาร ซึ่งขณะนี้คณะผู้วิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอยู่ในช่วงทดสอบตลาด และประเมินผลเพื่อนำนวัตกรรมและข้อค้นพบในการผลิตและจัดจำหน่ายไปถ่ายทอดแก่สมาชิกกลุ่ม / ผู้ประกอบการข้าวหลาม ยางหย่อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการผลิตและต่อยอดการพัฒนาสำหรับการจำหน่ายเชิงพาณิชย์ต่อไป
2โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ต.บ้านในดง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ชุมชนบ้านในดง1.ส่งเสริมและพัฒนาสัมมาชีพและสินค้า OTOP  จากกล้วยหอมทอง ตำบลบ้านในดง
2.พัฒนาศูนย์เรียนรู้กล้วยหอมทองครบวงจร พร้อมจัดทำแผนที่สู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรตำบลบ้านในดง
3.แปรรูปผลิตภัณฑ์จากต้นกล้วยหอม ผ่านกระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตำบลบ้านในดง
4. กิจกรรมรณรงค์สู้ภัยโควิด
3โครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ชุมชน1. ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์
2. ส่งเสริมเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชน
4การพัฒนาและยกระดับสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงอย่างยั่งยืน ภายใต้โครงการยกระดับพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น7 กลุ่ม 
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนในหมู่บ้านยางน้ำกลัดเหนือ ต.ยางน้ำกลัดเหนือ อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุรีชุมชนบ้านยางน้ำกลัดเหนือ1. เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นในด้านผลผลิตทางการเกษตร
2. สร้ารายได้ให้กับชุมชนเพิ่มขึ้น
3. ผลิตภัณฑ์ของชุมชนเป็นที่รู้จักและน่าสนใจ
4. มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นทำให้มีกลุ่มลูกค้ามากขึ้นจากการจำหน่ายทั้ง online และ offline
2โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพกลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก  ในเครือข่ายวิทยาเขตโป่งสลอด มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี โดยการใช้กิจกรรม “School to Work” เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะทางสังคมให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งสลอด โรงเรียนบ้านหนองโสน และโรงเรียนวัดโพธิ์ลอย อ.บ้านลาด จ. เพชรบุรีโรงเรียนบ้านโป่งสลอด โรงเรียนบ้านหนองโสน โรงเรียนวัดโพธิ์ลอย1. พัฒนาทักษะอาชีพและสร้างรายได้ให้กับนักเรียน
2. เกิดการรวมกลุ่มกันทำงานทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีในห้องถิ่น
3. ส่งเสริมการค้าและการท่องเที่ยวในชุมชน
4. ยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กในเครือข่ายวิทยาเขตโป่งสลอด
3การพัฒนาผ้าลายอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรีสู่การจำหน่ายเชิงพาณิชย์1. ชุมชนบ้านรางจิก ต.ไร่ใหม่พัฒนา อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
2. ชุมชนบ้านห้วยสัตว์ใหญ่ ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
1.พัฒนาผ้าลายอัตลักษณ์จังหวัดเพชรบุรีสู่การจำหน่ายเชิงพาณิชย์
2.เครือข่ายการทอผ้าในจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
4โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ต.ท่าตะคร้อต.ท่าตะคร้อ 
ลำดับกิจกรรมบริการวิชาการชุมชนที่บริการวิชาการผลลัพธ์ที่ได้ต่อชุมชน
1โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ชุมชนบ้านสระและชุมชนเจ้าพ่อเขาใหญ่ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ชุมชนบ้านสระและชุมชนเจ้าพ่อเขาใหญ่ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีชุมชนได้รับการพัฒนาในการสร้างรายได้เสริมในการปลูกผักปลอดสาร การเลี้ยงจิ้งหริด การเลี้ยงใส้เดือน โดยมีการรวมกลุ่มเป็นกลุ่มวิสาหกิจรอยยิ้ม เพื่อเป็นจุกเริ่มต้นในการพัฒนาชุมชนให้มีองคืความรู้ สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน
2โครงการยกระดับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning และการส่งเสริมคุณธรรม เพื่อพัฒนาโรงเรียนเครือข่าย โรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนเครือข่าย โรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ครูได้พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning และการส่งเสริมคุณธรรม ครูสามารถสร้างสื่อในการพัฒนาการสอนครุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนในโรงเรียน
3โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ต.บางเก่าต.บางเก่า 
4พัฒนาศูนย์พัฒนาเยาวชนและผู้นำชุมชน ระยะ 2โป่งสลอด 
5กิารพัฒนาลายผ้าสุวรรณวัชร์:ลายผ้าอัตลักษร์จังหวัดเพชรบุรี  
6กิจกรรมศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีเพชรบุรี  
7การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญา 
บ้านดอนขุนห้วย ตำบลดอนขุนห้วย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
  
8พัฒนาทักษะการอ่านการเขียนของนักเรียนในระดับประถมศึกษา  
9พัฒนาสมรรถนะครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและจัวหวัดประจวบฯ  
10การอบรมการเป็นผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้น (ได้รับวุฒิบัตร B.T.C.)  
11พัฒนาท้องถิ่นตามบริบทมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนการป้องกันโรคระบาด Covid 19  
Scroll to Top